นิเสธของประพจน์แจงเหตุสู่ผล (The Negation of a Conditional Statement)

p   q เป็นประพจน์เท็จก็ต่อเมื่อ สมมุติฐาน p มีค่าความจริงเป็นจริง ( T ) แต่สรุปมีค่าความจริงเป็นเท็จ

( F ) ซึ่งทำให้นิเสธของ p  q เป็นดังนี้ 

นิเสธของประพจน์ “ถ้า p แล้ว q” เป็นตรรกสมมูลกับ “p และ ~q”

~ (p  q)  p ^ ~ q

สามารถพิสูจน์ได้ว่า ~ (p q)  p ^ ~ q โดยทฤษฏีตรรกสมมูลในการพิสูจน์ได้

                                               จาก   (p q)  p ^ ~ q   .......... นิยาม

                                                       ~ (p q)  ~ (~p v q)   .......... ใส่ค่านิเสทั้งสองข้าง

                                                                           ~ (~p) ^ ~q .......... กฎของเดอร์มอแกน

                                                                            p ^ ~q  .......... กฏนิเสธซ้อนนิเสธ

                                               แสดงว่า ~(p q)  p ^ ~q

ประพจน์แจงเหตุสู่ผลเชิงแย้ง ( The Contrapositive of a Condition Statement)

          กฎพื้นฐานที่สำคัญยิ่งเกี่ยวกับตรรกะคือ ตรรกสมมูลของประพจน์เงื่อนไข (การแจงเหตุสู่ผล) และประพจน์แจงเหตุสู่ผลเชิงแย้ง

         ประพจน์ของการแจงเหตุสู่ผลเชิงแย้ง (Contrapositive) ของ “If  p then q” คือ “ If ~q then ~p”

         p  q  ~q  ~p

 

 

ตัวอย่าง จงแสดงว่า p q สมมูลกับ ~ q  ~p

วิธีทำ แสดงด้วยการสร้างตารางค่าความจริง

 

p

q

~p

~q

p  q

~q  ~p

T

T

F

F

T

T

T

F

F

T

F

F

F

T

T

F

T

T

F

F

T

T

T

T

มีค่าความเป็นจริงเหมือนกัน

 

เนื่องจาก ( p   q ) และ ~q ~p มีค่าความจริงเหมือนกันในทุกกรณี แสดงว่าประพจน์ทั้งสองตรรกสมมูล

Home  กลับก่อนหน้านี้      หน้าถัดไป


Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  6,907
Today:  11
PageView/Month:  25

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com