ตรรกศาสตร์การแจงเหตุผล (Logical Implication)

ความนำ

                หลักการของตรรกศาสตร์การแจงเหตุสู่ผลมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันอย่ายิ่งเป็นที่ยอมรับว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นย่อมมีเหตุเป็นปัจจัยสำคัญ การสรุปเหตุผลในรูปแบบทางคณิตศาสตร์ เหตุผลในการหาข้อสรุปได้มาจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้ โดยการพิสูจน์ว่าสมมุติฐานนั้นๆ เป็นจริงแล้วจะทำให้ข้อสรุปเป็นจริง โดยยึดเหตุผลทางตรรกศาสตร์เป็นหลัก ซึ่งจะเห็นได้ว่าตรรกศาสตร์การแจงเหตุผล ประกอบด้วยสองส่วนคือ “เหตุ (hypothesis)” และ “ผล (conclusion)” หรือที่ได้ยินได้ฟังอยู่เสมอคือ ถ้า (if) ….. แล้ว (then)”

                ถ้า p และ q เป็นประพจน์ใดๆ ที่เชื่อมด้วยตัวเชื่อม “ถ้า....แล้ว” หรือใช้สัญลักษณ์ p         q เรียก p เป็นประพจน์สมมุติฐาน (hypothesis) และ q เป็นประพจน์ผลสรุป (conclusion)

                ประโยคสัญลักษณ์ p         q แสดงว่า (if – then) เป็นตัวเชื่อมประพจน์เช่นเดียวกับตัวเชื่อมประพจน์ ~,^,และ v สามารถใช้ตัวเชื่อมประพจน์ย่อยแล้วทำให้เกิดประพจ์ใหม่ได้ และค่าความจริงของประพจน์ p q มีค่าความจริงสอดคล้องกับความเป็นจริง

ค่าความจริงของประพจน์การแจงเหตุสู่ผล

                ถ้า p และ q เป็นประพจน์ใดๆ ประพจน์เงื่อนไข ถ้า p แล้ว q หรือ p q  จะมีค่าความจริงเป็นเท็จ เมื่อ ประพจน์ p เป็นจริง และ ประพจน์ q เป็นเท็จในกรณีอื่นๆ จะมีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ

               

p

q

p q 

T

T

T

T

F

F

F

T

T

F

F

T

ตารางค่าความจริงของประพจน์แจงเหตุสู่ผล

 

 

ตัวอย่าง จงหาค่าความจริงของ p v ~ q   p

วิธีทำ

                ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ตัวแปรหรือประพจน์มี 2 ประพจน์ คือ p, q และ r

                ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ประพจน์ย่อย ดังนี้

                                2.1 ประพจน์สมมุติฐาน คือ ~p ^ q

                                                2.1.1  ~  p

                                                2.1.2 ~p ^ q

                                2.2 ประพจน์สรุปผล คือ r v ~q

                                                2.2.1 ~p

                                                2.2.2 r v ~p

                                2.3 ประพจน์แจงเหตุสุ่ผล คือ p v ~ q   p

                ขั้นตอนที่ 3 สร้างหัวตารางของตัวแปรและประพจน์ย่อย รวมเป็น 8 ช่อง

                ขั้นตอนที่ 4 ความเป็นไปได้ทั้งหมดของประพจน์ 2 ประพจน์คือ 23 = 8 กรณี

               ขั้นตอนที่ 5 หาค่าความจริงของประพจน์

p

q

r

~p

~q

~p ^ q

r v ~p

p v ~ q   p

T

T

T

F

F

F

T

T

T

T

F

F

F

F

F

T

T

F

T

F

T

F

T

T

T

F

F

F

T

F

T

T

F

T

T

T

F

T

T

T

F

T

F

T

F

T

F

F

F

F

T

T

T

F

T

T

F

F

F

T

T

F

T

T

Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  6,900
Today:  4
PageView/Month:  18

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com