สัจนิรันดร์ ( Tautology )  และ ความขัดแย้ง ( Contradiction )

สัจนิรันดร์ ( Tautology )   

                คือรูปแบบประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงเสมอ โดยไม่ขึ้นกับค่าความจริงของตัวแปรของแต่ละประพจน์ย่อยประพจน์ที่มีรูปแบบเป็นสัจนิรันดร์เรียกว่า ประพจน์สัจนิรันดร์ (Tautology Statement)

ความขัดแย้ง ( Contradiction )

                คือรูปแบบประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จเสมอ โดยไม่ขึ้นอยู่กับค่าความจริงของตัวแปรของแต่ละประพจน์ย่อยประพจน์ที่มีรูปแบบความขัดแย้งเรียกว่า ประพจน์ความขัดแย้ง (Contradiction Statement)

จากนิยามข้างต้น ค่าความจริงของประพจน์สัจนิรันดร์ และค่าความจริงของประพจน์ความขัดแย้ง ขึ้นอยู่กับโครงสร้างตรรกะของประโยคแต่ไม่ขึ้นอยู่กับความหมายของประโยค 

ตัวอย่างประพจน์นี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ 

ก.(rp) (pr)                                          ข.(r~p) (pr)

วิธีคิด เขียนตารางแสดงค่าความจริงของ p กับ q ให้ครบทุกกรณีเป็นไปด้ (4 กรณี )

P

r

rp

pr

(rp) (pr) 

T

T

T

T

T

 T

F

T

F

F

F

T

T

T

T

F

F

F

T

T

P

r

r~P

pr

(r~p) (pr)

T

T

T

T

T

T

F

F

F

T

F

T

T

T

T

F

F

T

T

T

 

การตรวจสอบรูปแบบประพจน์ว่าเป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ นอกจากจะใช้วิธีเขียนตารางค่าความ 

จริงให้ครบทุกกรณีแล้ว โดยทั่วไปนิยมใช้วิธีพยายามทำให้เป็นเท็จคือถ้าหากรณีที่ทำให้รูปแบบนั้น

เป็นเท็จไม่ได้เลย รูปแบบนั้นก็จะเป็นสัจนิรันดร์ แต่ถ้าทำเป็นเท็จได้แม้เพียงกรณีเดียว รูปแบบนั้น 

ย่อมไม่ใช่สัจนิรันดร์ โดยเฉพาะเมื่อมีประพจน์ย่อยมากๆ (เช่น p, q, r, s, ...) การเขียนตารางให้ครบทุกกรณี

จะทำได้ไม่สะดวก ควรใช้วิธีพยายามทำให้เป็นเท็จ 

ตัวอย่าง ประพจน์นี้เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่ 

. (r p)(p r)                                                      . (r ~ p)(p r)

วิธีคิด ก. ใช้วิธีพยายามทำให้เป็นเท็จ(r p)   (p r)

        T            F

                                                            F  T        T  F

 

 

 

ตัวเชื่อมหลักคือ ถ้า-แล้วจะเป็นเท็จได้ แสดงว่าวงเล็บหน้าต้องเป็นจริง และวงเล็บหลังต้องเป็นเท็จเท่านั้น ... วงเล็บหลังเป็นเท็จแสดงว่า p ต้องเป็นจริง และ r ต้องเป็นเท็จ ... นำค่าความจริงของ pและ r ไปใส่ในวงเล็บหน้า ได้ค่าเป็นจริงตามที่ต้องการพอดี ... แสดงว่าตอนนี้เราทำให้ผลเป็นเท็จได้สำเร็จ (คือเป็นเท็จเมื่อ p เป็นจริง, r เป็นเท็จ) ข้อนี้จึงไม่เป็นสัจนิรันดร์ ข. ตัวเชื่อมหลักคือ ก็ต่อเมื่อจะเป็นเท็จได้ 2 แบบ คือ T F กับ F T ... การคิดด้วยวิธีนี้ค่อนข้างยุ่งยาก เราควรเลี่ยงไปใช้วิธีในตัวอย่างถัดไป คือดูความสมมูลระหว่างก่อนหน้าและหลัง

หากตัวเชื่อมหลักเป็น หรือ”, “ถ้า-แล้วสามารถตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์ได้โดยพยายามทำให้เป็นเท็จ ดังกล่าวไปแล้ว แต่หากตัวเชื่อมหลักเป็น ก็ต่อเมื่อควรตรวจสอบการเป็นสัจนิรันดร์

ตัวอย่าง จงแสดงว่าประพจน์ในรูปแบบ p v ~q เป็นสัจนิรันดร์ และ p ^ ~q เป็นความขัดแย้ง

วิธีทำ สร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ p v ~p และ p ^ ~p

p

~p

q

~q

p v ~p

p ^ ~p

T

F

T

F

T

F

T

F

F

T

T

F

F

T

T

F

T

F

F

T

F

T

T

F

สัจนิรันดร์

ความขัดแย้ง

 

            เนื้องจากค่าความจริง p v ~p มีค่าเป็นจริง (T) สำหรับทุกๆ ค่าความจริงของ p  ดังนั้น p v ~p จึงเป็นสัจนิรันดร์ ( Tautology ) 

                p ^ ~p มีค่าเป็นเท็จ (F) สำหรับทุกๆ ค่าความจริงของ p ดังนั้น p ^ ~qยจึงเป็นความขัดแย้ง (Contradiction)

Home  กลับก่อนหน้านี้    หน้าถัดไป


Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  6,897
Today:  9
PageView/Month:  15

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com