วงจรไฟฟ้าต่อสวิตซ์แบบขนาน    

สวิตซ์

หลอดไฟ 

P

Q

P ^ Q

1

1

1

1

0

0

0

1

0

0

0

0

 


 

 ลองพิจารณาวงจรไฟฟ้าต่อสวิตซ์แบบขนาน การไหลผ่านกระแสไฟฟ้าไหลผ่านสวิตซ์ และทำให้หลอดไฟติด (on) ก็ต่อเมื่อสวิตซ์ p หรือ q สวิตซ์ใดสวิตซ์หนึ่งปิด (closed) นั่นก็คือ หลอดไฟจะดับมีกรณีเดียวคือ p และสวิตซ์ q เปิดทั้งคู่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ นั่นคือ สวิตซ์หรือสะพานไฟเปิด

ตารางต่อไปนี้แสดงสถานะความเป็นไปได้ทั้งหมดของการต่อสวิตซ์แบบขนานซึ่งมีความเป็นไปได้ 4 กรณี จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการเปิดสวิตซ์ p และปิดสวิตซ์ q ดังในกรณีที่สาม กระแสไฟฟ้ามาสามารถไหลผ่านสวิตซ์ p ได้ แต่กระแสไฟฟ้ายังสามารถผ่านสวิตซ์ q ได้ ดังนั้นสถานะของหลอดไฟจึงติด การปิด – เปิดของสวิตซ์ p และสวิตซ์ q สัมพันธ์กับการติดตช์แบบ-ดับ ของหลอดไฟดังตารางการต่อสวิตซ์แบบขนาน จะเห็นได้ว่าเมื่อแทนค่าความจริงดังกล่าวมาแล้ว การต่อสวิตซ์แบบขนาน จะสัมพันธ์กับตรรก การเชื่อมประพจน์ p v q


สวิตซ์

หลอดไฟ

P

Q

สถานะ

ปิด

ปิด

ติด

ปิด

เปิด

ติด

เปิด

ปิด

ติด

เปิด

เปิด

ดับ

การต่อสวิตซ์แบบขนาน


สวิตซ์

หลอดไฟ 

P

Q

P v Q

1

1

1

1

0

1

0

1

1

0

0

0

นิพจน์บูลีนที่สัมพันธ์กับการต่อสวิตซ์แบบขนาน

Home  กลับก่อนหน้านี้        หน้าถัดไป



Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  6,914
Today:  18
PageView/Month:  32

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com